Monthly Archives: กรกฎาคม 2016

13.8 เส้นสนามไฟฟ้า

เราทราบแล้วว่า ประจุจะมีสนามไฟฟ้า ณ บริเวณโดยรอบของประจุ โดยขึ้นอยู่กับระยะที่ห่างออกไปจากประจุ เราลองมาศึกษาพฤติกรรมหรือบริเวณโดยรอบของประจุไฟฟ้าว่ามีลักษณะอย่างไร การจากใบความรู้ต่อไปนี้กันเลยครับ

จุดประสงค์ของการเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของเส้นสนามไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าบวกและลบได้อย่างถูกต้อง

2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของเส้นสนามไฟฟ้าระหว่างประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันและประจุไฟฟ้าต่างชนิดเมื่อวางไว้ไกล้กันได้อย่างถูกต้อง

หลักจากศึกษาใบความรู้แล้วเรามาตอบคำถามต่อไปนี้กันครับ

13.7 สนามไฟฟ้า

        เราทราบแล้วว่า แรงระหว่างประจุ 2 ประจุที่วางไว้ ณ ตำแหน่งใกล้กัน จะส่งผลต่อกัน คือ มีแรงกระทำตามการทดลองของคูลอมบ์ ซึ่งแรงระหว่างประจุนี้จะมีขนาดขึ้นอยู่กับขนาดของประจุทั้งสอง และระหว่างระหว่างประจุ แต่ถ้ามีประจุเพียง 1 ตัว ประจุตัวนี้จะมีการแสดงอำนาจอย่างไรบ้าง เรามาศึกษาจากใบความรู้ต่อไปนี้กันครับ

จุดประสงค์ของการเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะสนามไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าบวกและลบได้อย่างถูกต้อง

2. นักเรียนสามารถคำนวณหาขนาดของสนามไฟฟ้า ณ ตำแหน่งซึ่งห่างออกไปจากจุดประจุและตัวนำทรงกลมที่มีประจุไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

หลังจากที่ได้ศึกษาใบความรู้แล้ว เราลองมาตอบคำถามกันดูนะครับ

13.6 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์

        สวัสดีครับ ตอนนี้เราทราบวิธีการตรวจสอบว่าวัตถุใดๆ นั้นจะมีประจุหรือไม่ โดยพิจารณาจากการมีปฏิกิริยาโต้ตอบระหว่าววัตถุนั้นกับอิเล็กโทรสโคปซึ่งมีทั้งแบบลูกพิทและแบบแผ่นโลหะ แล้วแรงผลักหรือแรงดึงดูดระหว่างประจุที่อยู่บนวัตถุกับอิเล็กโทรสโคปนั้นมีขนาดเท่าใด เราลองมาศึกษาดูหัวข้อแรงระหว่างประจุ โดยเป็นการทดลองของคูลอมบ์ในใบความรู้ต่อไปนี้เลยละกัน

จุดประสงค์ของการเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายการทดลองและกฎของคูลอมบ์ได้อย่างถูกต้อง

2. นักเรียนสามารถคำนวณหาแรงระหว่างประจุไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

 

หลังจากที่ได้ศึกษาใบความรู้แล้ว เราลองมาตอบคำถามกันดูนะครับ

.

.

.