Monthly Archives: กันยายน 2015

14.10 แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ 14 เรื่อง ไฟฟ้ากระแส

แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ 14 เรื่อง ไฟฟ้ากระแส

        หลังจากที่นักเรียนทำการศึกษาเนื้่อหา บทที่ 14 เรื่อง ไฟฟ้ากระแส เสร็จเรียบร้อยแล้ว ขอให้นักเรียนมาทำแบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียนพื้นฐานกันก่อนนะครับ ลงมือทำได้เลยครับ

สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์
สมพร เหล่าทองสาร
โดย somporn laothongsarn อนุญาตให้ใช้ได้ตาม
สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ
แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ต้นฉบับ
.
อยู่บนพื้นฐานของงานที่ somporndb.wordpress.com.
การอนุญาตนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในสัญญาอนุญาตนี้
อาจมีอยู่ที่ https://somporndb.wordpress.com

14.9 กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง 2

         สวัสดีครับ ในหัวข้อที่ผ่านเราได้ศึกษากฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความต้านทานมาเรียบร้อยแล้ว ในหัวข้อนี้ได้เพิ่มเติมการต่อต้านทานเข้ามาในวงจรมากขึ้น ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร ถ้าพร้อมแล้วเรามาศึกษารายละเอียดกันกันเลยครับ

14.8 กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง 1

สวัสดีครับ ในหัวข้อนี้เราจะมาศึกษาถึงการคำนวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับกฎของโอห์มซึ่งในหัวข้อที่ผ่านเราได้ศึกษาการทดลองของโอห์มและความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความต้านทานมาเรียบร้อยแล้ว ถ้าพร้อมแล้วเรามาศึกษารายละเอียดกันกันเลยครับ

14.7 ความต้านทานรวมในวงจร

การต่อตัวต้านทานและการหาค่าความต้านทานรวมในวงจร

       ในหัวข้อที่ผ่านมา้เราได้ทราบถึงสภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้าของวัสดุต่างๆแล้ว ในหัวข้อนี้เราจะมาศึกษาถึงการต่อตัวต้านทานในลักษณะต่้างๆ และการหาค่าความต้านทานรวมในวงจรกันในหัวข้อต่อไปนี้กันเลยครับ

จุดประสงค์ของการเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถบอกวิธีการต่อตัวต้านทานแบบต่างๆ ได้

2. นักเรียนสามารถคำนวณหาค่าความต้านทานรวม เมื่อต่อตัวต้านทานในแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

       หลังจากศึกษาเสร็จแล้วเรามาลองตอบคำถามกันดูนะครับ คำสั่งให้ใช้รูปต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 3, 4 และ 5 ตามลำดับ