Monthly Archives: พฤษภาคม 2013

การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (คศ.3)

           การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก่อนแต่งตั้งให้มีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ (คศ.3)
ระหว่างวันที่ 27 – 30 พฤษภาคม 2556
ณ ห้องประชุมช่อแก้ว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

CIMG4656

CIMG4657

CIMG4658

CIMG4659

CIMG4660

CIMG4661

CIMG4662

CIMG4663

CIMG4664

CIMG4665

CIMG4666

CIMG4667

CIMG4668

CIMG4669

CIMG4670

CIMG4671

CIMG4672

CIMG4673

CIMG4674

CIMG4675

CIMG4676

CIMG4677

CIMG4678

CIMG4679

CIMG4680

CIMG4681

CIMG4682

CIMG4683

CIMG4684

CIMG4685

CIMG4686

CIMG4687

CIMG4688

CIMG4689

CIMG4690

CIMG4691

CIMG4692

CIMG4693

CIMG4694

ทดสอบความรู้หลังเรียนเรื่องไฟฟ้ากระแส – 14.10 – Summer Course

กำหนดให้

เครื่องหมาย ^ หมายถึง ยกกำลัง เช่น 10^2 มีความหมายว่า 10 ยกกำลัง 2

1. แหล่งกำเนิดไฟฟ้าใดให้พลังงานเนื่องจากปฏิกิริยาเคมี

  •  ก. เซลล์ไฟฟ้าเคมี
  •  ข. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
  •  ค. คู่ควบความร้อน
  •  ง. เซลล์สุริยะ
2. แหล่งกำเนิดไฟฟ้าในข้อใดกำเนิดจากสิ่งมีชีวิต

  •  ก. Bioelectric
  •  ข. Electrochemical cell
  •  ค. Generator
  •  ง. Thermocouple
3. การนำไฟฟ้าในโลหะเกิดขึ้นได้เนื่องจากการเคลื่อนที่ของสิ่งใด

  •  ก. โฮล
  •  ข. ไอออนลบ
  •  ค. ไอออนบวก
  •  ง. อิเล็กตรอนอิสระ
4. การนำไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊สอาศัยสิ่งใดต่อไปนี้

  •  ก. อิเล็กตรอนอิสระ
  •  ข. อิเล็กตรอนอิสระ และโฮล
  •  ค. ไอออนบวก และไอออนลบ
  •  ง. อิเล็กตรอนอิสระ และไอออน
5. กระแสไฟฟ้าในตัวนำสามารถคำนวณหาได้จากปริมาณในข้อใดบ

  •  ก. ประจุไฟฟ้า
  •  ข. ประจุไฟฟ้า และเวลา
  •  ค. ประจุไฟฟ้า และความต่างศักย์
  •  ง. ประจุไฟฟ้า และความต้านทาน
6. อิเล็กตรอนจำนวน 1 ล้านล้านตัว เคลื่อนที่ผ่านภาคตัดขวางในเวลา 5 วินาที จะมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเท่าใด

  •  ก. 3.2 x 10 ^ – 6 A
  •  ข. 3.2 x 10 ^ – 7 A
  •  ค. 3.2 x 10 ^ – 8 A
  •  ง. 3.2 x 10 ^ – 9 A
7. ลวดเงินมีพื้นที่หน้าตัด 1 ตารางมิลลิเมตร ถ้ามีกระแสไหลผ่าน 2 แอมแปร์ ขนาดของความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระเป็นเท่าใด ถ้าความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในลวดเงินเท่ากับ 8.4 x 10^26 ลูกบาศก์เมตร และประจุของอิเล็กตรอนเท่ากับ 1.6 x 10^ -19 C

  •  ก. 1.5 x 10 ^ – 4 m/s
  •  ข. 1.5 x 10 ^ – 5 m/s
  •  ค. 1.5 x 10 ^ – 6 m/s
  •  ง. 1.5 x 10 ^ – 7 m/s
8. ข้อใดกล่าวถึงกฎของโอห์มถูกต้อง

  •  ก. เมื่ออุณหภูมิคงที่ กระแสจะแปรผันตรงกับความต่างศัีกย์
  •  ข. เมื่ออุณหภูมิคงที่ กระแสจะแปรผกผันกับความต่างศัีกย์
  •  ค. เมื่อความต้านทานคงที่ กระแสจะแปรผันตรงกับความต่างศัีกย์
  •  ง. เมื่อความต้านทานคงที่ กระแสจะแปรผกผันกับความต่างศัีกย์
9. เมื่ออุณหถูมิเปลี่ยนไป ความต้านทานของสิ่งใดที่มีค่าคงตัว และเป็นไปตามกฎของโอห์ม

  •  ก. โลหะ
  •  ข. หลอดไดโอด
  •  ค. อิเล็กโทรไลต์
  •  ง. สารกึ่งตัวนำ
10. ถ้าสีบนตัวต้านทานหนึ่งเรียงตามลำดับดังนี้ แดง ดำ น้ำตาล แดง จะอ่านค่าความต้านทานได้เป็นอย่างไร

  •  ก. 2 x 10^1 +/- 2%
  •  ข. 2 x 10^2 +/- 2%
  •  ค. 20 x 10^1 +/- 2%
  •  ก. 20 x 10^2 +/- 2%
11. แอลดีอาร์ หมายถึงข้อใด

  •  ก. ตัวต้านทานแปรค่า
  •  ข. ตัวต้านทานคุมกระแส
  •  ค. ตัวต้านทานขึ้นกับความสว่าง
  •  ง. ตัวต้านทานขึ้นกับอุณหภูมิ
12. เมื่อต่อแบตเตอรี่เข้ากับลวดโลหะ แล้ววัดความต่างศักย์ระหว่างปลายลวด ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  •  ก. เมื่อเพิ่มความยาว กระแสไฟฟ้าจะมากขึ้น
  •  ข. เมื่อลดความยาว กระแสไฟฟ้าจะมากขึ้น
  •  ค. เมื่อเพิ่มพื้นที่หน้าตัด กระแสไฟฟ้าจะมากขึ้น
  •  ค. เมื่อลดพื้นที่หน้าตัด กระแสไฟฟ้าจะลดลง
13. วัตถุในข้อใดที่มีสภาพต้านทานสูงที่สุด

  •  ก. ทองแดง
  •  ข. แพลทินัม
  •  ค. นิโครม
  •  ง. แมงกานิน
14. เมื่อลดพื้นที่หน้าตัดลง 2 เท่า ความต้านทานของลวดจะเป็นอย่างไร

  •  ก. ลดลง 4 เท่า
  •  ข. ลดลง 2 เท่า
  •  ค. คงที่
  •  ง. เพิ่มขึ้น 2 เท่า
15. สภาพนำยวดยิ่ง (Superconductor) คืออะไร

  •  ก. สภาพนำไฟฟ้าต่ำสุด
  •  ข. สภาพต้านทานสูงสุด
  •  ค. สภาพต้านทานเป็นศูนย์
  •  ง. สภาพนำไฟฟ้าเป็นศูนย์
16. ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง ใช้สารในข้อใดทำให้เกิดอุณหภูมิวิกฤต

  •  ก. ฮีเลียมเหลว
  •  ข. ไนโตรเจนเหลว
  •  ค. ออกซิเจนเหลว
  •  ง. อาร์กอนเหลว
17. แรงเคลื่อนไฟฟ้าในแหล่งกำเนิดไฟฟ้าแทนด้วยสัญลักษณ์ใด

  •  ก. E
  •  ข. W
  •  ค. Q
  •  ง. V
18. ข้อใดกล่าวถึงการหากำลังไฟฟ้าได้ถูกต้อง

  •  ก. W = QV
  •  ข. Q = It
  •  ค. P = IR
  •  ง. P = V^2 /R
19. ข้อใดกล่าวถูกเมื่อนำตัวต้านทานต่อกันแบบอนุกรม

  •  ก. ความต้านทานรวมมีค่าลดลง
  •  ข. ศักย์ไฟฟมีค่าเท่ากันทกจุด
  •  ค. กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานมีค่าเปลี่ยนไป
  •  ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
20. เมื่อนำตัวต้านทานขนาด 15 โอห์ม และ 20 โิอห์ม มาต่อกันแบบอนุกรม ค่าความต้านทานรวมเป็นเท่าใด

  •  ก. 5 โอห์ม
  •  ข. 15 โอห์ม
  •  ค. 35 โอห์ม
  •  ง. 40 โอห์ม
21. ข้อใดกล่าวผิดถูกเมื่อนำตัวต้านทานต่อกันแบบขนาน

  •  ก. Rรวม = R1 + R2
  •  ข. Iรวม = I1 + I2
  •  ค. Vรวม = V1 = V2
  •  ง. Vรวม = IRรวม
22. เมื่อนำตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม และ 40 โิอห์ม มาต่อกันแบบขนาน ค่าความต้านทานรวมเป็นเท่าใด

  •  ก. 5 โอห์ม
  •  ข. 8 โอห์ม
  •  ค. 10 โอห์ม
  •  ง. 30 โอห์ม
23. นำแบตเตอรี่ขนาด 15 โลต์ ความต้านทานภายใน 2 โอห์ม ต่อกับอนุกรมกับแบตเตอรี่ขนาด 10 โลต์ ความต้านทานภายใน 1 โอห์ม จะให้ผลลัพธ์ตามข้อใด

  •  ก. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 5 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 1 โอห์ม
  •  ข. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 5 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 3 โอห์ม
  •  ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 25 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 1 โอห์ม
  •  ง. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 25 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 3 โอห์ม
24. นำแบตเตอรี่ขนาด 5 โลต์ ความต้านทานภายใน 1 โอห์ม จำนวน 2 เซลล์มา่ต่อกันขนาน จะให้ผลลัพธ์ตามข้อใด

  •  ก. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 5 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 1 โอห์ม
  •  ข. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 5 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 2 โอห์ม
  •  ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 10 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 1 โอห์ม
  •  ง. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 10 โวลต์ ความต้านทานภายในรวม 2 โอห์ม
25. นำแบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์ต่้อเข้ากับหลอดไฟที่มีความต้านทาน 100 โอห์ม จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด

  •  ก. 0.12 แอมแปร
  •  ข. 1.20 แอมแปร
  •  ค. 12.0 แอมแปร
  •  ง. 120 แอมแปร
26.ถ้าต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทาน 200 โอห์มเป็นปริมาณ 2 แอมแปร์ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาดเ่ท่าใด

  •  ก. 50 โวลต์
  •  ข. 100 โวลต์
  •  ค. 200 โวลต์
  •  ง. 400 โวลต์
27. ต่อแบตเตอรี่ขนาด 9 โวลต์ เข้ากับหลอดไฟพบว่ามีกระแสไหลผ่าน 0.45 แอมแปร์ อยากทราบว่าหลอดไฟมีความต้านทานเท่าใด

  •  ก. 4.05 โอห์ม
  •  ก. 20.0 โอห์ม
  •  ค. 40.5 โอห์ม
  •  ง. 200 โอห์ม
28. เครื่องวัดทางไฟฟ้าถูกพัฒนาขึ้นมาจากอุปกรณ์ชนิดใด

  •  ก. แกลแวนอมิเตอร์
  •  ข. แอมมิเตอร์
  •  ค. โวลต์มิเตอร์
  •  ง. โอห์มมิเตอร์
29. เมื่อต้องการให้เครื่องวัดสามารถวัดกระแสได้มากขึ้นต้องปฏิบัติเช่นไร

  •  ก. ต่อตัวต้านทานชันต์แบบขนานกับเครื่องวัด
  •  ข. ต่อตัวต้านทานมัลติพลายเออร์แบบขนานกับเครื่องวัด
  •  ค. ต่อตัวต้านทานแบบปรับค่าได้แบบอนุกรมกับเครื่องวัด
  •  ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
30. ต่อตัวต้านทานแบบแปรค่าและแบตเตอรี่เข้ากับเครื่องวัดเพื่อให้วัดค่าได้สูงขึ้น เป็นหลักการของเครื่องวัดใด

  •  ก. โอห์มมิเตอร์
  •  ข. โวลต์มิเตอร์
  •  ค. แอมมิเตอร์
  •  ง. แกลแวนอมิเตอร์
31. เครื่องมือวัดที่สามารถวัดได้ทั้งกระแส ความต่างศักย์ และความต้านทานไฟฟ้า คือข้อใด

  •  ก. บารอมิเตอร์
  •  ข. มัลติมิเตอร์
  •  ค. เทอร์โมมิเตอร์
  •  ง. แอลอีดี
32. ป้ายข้างกาต้มน้ำร้อนไฟฟ้าบอกตัวเลข 1,200 W 220 V หมายถึงข้อใด

  •  ก. กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้ามีกำลังไฟฟ้า 1,200 W
  •  ข. กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้าใช้ไฟฟ้า 220 V
  •  ค. กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้าเกิดกระแสไฟไหลผ่าน 5.45 A
  •  ง. ถูกทุกข้อ
33. เตารีดไฟฟ้าขนาด 1000 W เมื่อต่อกับไฟบ้านขนาด 220 V จะเกิดกระแสไฟไฟ้าไหลผ่านเท่าใด

  •  ก. 2.27 แอมแปร์
  •  ข. 4.55 แอมแปร์
  •  ค. 6.82 แอมแปร์
  •  ง. 9.08 แอมแปร์
34. เมื่อต่อหม้อหุงข้าวไฟฟ้าขนาด 600 วัตต์ เข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 220 โวลต์ เป้นเวลา 30 นาที จะมีพลังงานไฟฟ้าเกิดขึ้นเท่าใด

  •  ก. 132,000 จูล
  •  ข. 264,000 จูล
  •  ค. 1,08,000 จูล
  •  ง. 2,160,000 จูล
35.การเดินสายไฟ้้เข้าบ้านจากระบบจ่ายไฟไฟฟ้ากี่สาย

  •  ก. 2 สาย
  •  ข. 3 สาย
  •  ค. 4 สาย
  •  ง. 5 สาย
36. สายใดที่มีไฟฟ้าไหลในสาย

  •  ก. สาย L
  •  ข. สาย N
  •  ค. สาย D
  •  ง. สาย E
37. แผงควบคุมไฟฟ้าในอดีตต่างจากแผงควบคุมไฟฟ้าในปัจจุบันอย่างไร

  •  ก. แผงควบคุมไฟฟ้าอดีตไม่มีฟิวส์
  •  ข. แผงควบคุมไฟฟ้าอดีตไม่มีสะพานไฟ
  •  ค. แผงควบคุมไฟฟ้าอดีตประกอบด้วยฟิวส์ และสะพานไฟ
  •  ง. แผงควบคุมไฟฟ้าอดีตประกอบด้วยฟิวส์สะพานไฟฟ้ารวม และสะพานไฟฟ้าย่ิอย
38. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการเลือกใช้ฟิวส์ให้เหมาะสมกับบ้าน

  •  ก. จำกัดปริมาณกระแสที่ไหลผ่านอุปกรณ์
  •  ข. เพื่อไม่ให้เกิดความร้อนขึ้นที่ระบบสายไฟ
  •  ค. เพื่อป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร
  •  ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
39. ไฟฟ้ารั่ว คืออะไร

  •  ก. ไฟฟ้าในวงจรของเครื่องใช้ไฟฟ้าเกินปริมาณที่ต้องการ
  •  ข. ไฟฟ้าในวงจรเกิดการรั่วออกมาเข้าสู่โครงโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้า
  •  ค. ไฟฟ้าในวงจรเคลื่อนที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าสู่ตัวคน
  •  ง. ไฟฟ้าในวงจรเคลื่อนที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าลงสู่พื้นดิน
40. เพื่อเป็นป้องกันไฟฟ้าดูด ควรปฏิบัติตนอย่างไร

  •  ก. กไม่จับต้องเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อตัวเปียก
  •  ข. สวมใส่รองเท้าพลาสติกเมื่อเดินบนพื้นเปียก
  •  ค. ต่อสายดินเข้ากับอุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้า
  •  ง. ถูกทุกข้อ

กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง 2 – 14.9 – Summer Course

        สวัสดีครับ ในหัวข้อที่ผ่านเราได้ศึกษากฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความต้านทานมาเรียบร้อยแล้ว ในหัวข้อนี้ได้เพิ่มเติมการต่อต้านทานเข้ามาในวงจรมากขึ้น ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร ถ้าพร้อมแล้วเรามาศึกษารายละเอียดกันกันเลยครับ

14.9.1

14.9.2

14.9.3

14.9.4

14.9.5

14.9.6

14.9.7

14.9.8

14.9.9

14.9.10

14.9.11

14.9.12

14.9.13

14.9.14

14.9.15

14.9.16

14.9.17

14.9.18

14.9.19

14.9.20

14.9.21

14.9.22

14.9.23 14.9.24

14.9.25

กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง 1 – 14.8 – Summer Course

        สวัสดีครับ ในหัวข้อนี้เราจะมาศึกษาถึงการคำนวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับกฎของโอห์มซึ่งในหัวข้อที่ผ่านเราได้ศึกษาการทดลองของโอห์มและความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความต้านทานมาเรียบร้อยแล้ว ถ้าพร้อมแล้วเรามาศึกษารายละเอียดกันกันเลยครับ

14.8.1

14.8.2

14.8.3

14.8.4

14.8.5

14.8.6

14.8.7

14.8.8

14.8.9

14.8.10

14.8.11

14.8.12

14.8.13

14.8.14

14.8.15

14.8.16

14.8.17

14.8.18

14.8.19

14.8.20